บริจาค

เห็นว่า..บล็อกนี้ดี มีประโยชน์.... โปรดสนับสนุนผู้ทำบล็อกได้ที่ พร้อมเพย์ 083-4616989...
หรือบัญชี 002-1-70462-8 กสิกรไทย สาขาบางลำภู...

จิตในจิตของควายนรกภูมิธรรม




ควายนรกภูมิธรรมโชว์โง่อีกแล้ว  ไอ้ควายนรกภูมิธรรมตัวนี้มันเข้าข่าย “โง่แล้วขยัน” คนจำพวกทำลายหมู่คณะมาแล้วไม่รู้ว่า เท่าไหร่ต่อเท่าไหร่ 

ควายนรกภูมิธรรมตั้งกระทู้ชื่อ “จิตตานุปัสสนาตามแบบพระพุทธเจ้า และ ธรรมกาย” เนื้อหากระทู้ก็โชว์โง่เป็นแบบนี้

ช่วยกันหาเหตุผลให้หน่อยครับว่าจิตตานุปัสสนาในพระไตรปิฏกมันมีส่วนไหนเหมือนกับจิตตานุปัสสนาที่ธรรมกายสอนบ้างครับ เพื่อคนที่ยังไม่รู้จะได้รู้

หลวงพ่อสด

จิตล่ะ เห็นจิตในจิต ก็แบบเดียวกันกับเวทนาในเวทนา  เห็นจิตในจิตนี่ ต้องกล่าว “เห็น”นะ ไม่ใช่กล่าว “รู้” นะ เห็นจิตในจิต

ดวงจิตของมนุษย์นี้เท่าดวงตาดำข้างนอก อยู่ในเบาะน้ำเลี้ยงหัวใจ ตำรับตำรากล่าวไว้ว่า หทยคูหา จิตฺตํ สรีร จิตฺตํ เนื้อหัวใจเป็นที่อยู่ แล้วก็กล่าวไว้อีกหลายนัย เนื้อหัวใจเป็นที่อยู่ แล้วก็กล่าวไว้อีกหลายนัย

ปกติมโน ใจเป็นปกติ ภวงฺคจิตฺตํ ใจเป็นภวังคจิต ตํ ภวงฺคจิตฺตํ

อันว่าภวังคจิตนั้น ปสนฺนํ อุทกํ วิย จิตเป็นดังว่าน้ำ จิตนั่นแหละเป็นภวังคจิต เลวาตกภวังค์แล้วใสเหมือนกับน้ำที่ใส

จิตดวงนั้นแหละเป็นจิตของมนุษย์ ที่ต้องมีปรากฏว่า จิตในจิตนั่นแหละอีกดวงหนึ่งคือ  จิตของกายมนุษย์ละเอียด ที่ฝันออกไปนั้นเรียกว่า จิตในจิต

เห็นจิตในจิต ล่ะ ดวงจิตตามส่วนของมันก็เท่าดวงตาดำข้างนอก ถ้าไปเห็นเข้ารูปนั้นมันขยายส่วน วัดเท่าดวงจันทร์ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์เหมือนกัน ดวงจิตก็ขนาดเดียวกัน

ไปเห็นจริงๆ เข้าเช่นนั้น ขยายส่วนเท่าดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ปรากฏอยู่ในดวงจิตกายมนุษย์หยาบนี่แหละ แต่ว่าเป็นดวงจิตของกายมนุษย์ละเอียด อยู่ในกายมนุษย์ละเอียดโน่น แต่ว่าล้อมอยู่ข้างในนี่แหละ

พระไตรปิฎก

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยการปฏิบัติอย่างไร ภิกษุจึงจะพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่เสมอได้ ภิกษุในธรรมวินัยนี้…

- เมื่อจิตมีราคะก็รู้ว่าจิตมีราคะ เมื่อจิตปราศจากราคะก็รู้ว่าจิตปราศจากราคะ
- เมื่อจิตมีโทสะก็รู้ว่าจิตมีโทสะ เมื่อจิตปราศจากโทสะก็รู้ว่าจิตปราศจากโทสะ
- เมื่อจิตมีโมหะก็รู้ว่าจิตมีโมหะ เมื่อจิตปราศจากโมหะก็รู้ว่าจิตปราศจากโมหะ
- จิตหดหู่ก็รู้ว่าจิตหดหู่ เมื่อจิตฟุ้งซ่านก็รู้ว่าจิตฟุ้งซ่าน
- เมื่อจิตเป็นมหรคตก็รู้ว่าจิตเป็นมหรคต เมื่อจิตไม่เป็นมหรคตก็รู้ว่าจิตไม่เป็นมหรคต
- เมื่อจิตมีจิตอื่นยิ่งกว่าก็รู้ว่าจิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า เมื่อจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่าก็รู้ว่าจิตไม่มีจิต
อื่นยิ่งกว่า
- เมื่อจิตเป็นสมาธิก็รู้ว่าจิตเป็นสมาธิ เมื่อจิตไม่เป็นสมาธิก็รู้ว่าจิตไม่เป็นสมาธิ
- เมื่อจิตหลุดพ้นก็รู้ว่าจิตหลุดพ้น เมื่อจิตไม่หลุดพ้นก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น

ดังพรรณนามาฉะนี้ภิกษุย่อม…
- เฝ้าพิจารณาเห็นจิตในจิตภายในบ้าง
- เฝ้าพิจารณาเห็นจิตในจิตภายนอกบ้าง
- เฝ้าพิจารณาเห็นจิตในจิตทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
- เฝ้าพิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในจิตบ้าง
- เฝ้าพิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในจิตบ้าง
- เฝ้าพิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในจิตบ้าง

เธอย่อมเป็นอยู่อีกอย่างหนึ่ง คือเข้าไปตั้งสติว่าจิตมี ก็เพียงสักว่าเอาไว้รู้ เพียงสักว่าเอาไว้

อาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้ไม่ถูกตัณหาและทิฐิเข้าอิงอาศัย และไม่ถือมั่นอะไรๆในโลก

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยการปฏิบัติอย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่เสมอ ฯ

1. จิตเป็นนามธรรม มีรูปร่างด้วยหรือ ถ้ามีรูปร่างจะเรียกว่าเป็นนามได้หรือ หลวงพ่อสด ดวงจิตของมนุษย์นี้เท่าดวงตา....

2. พระไตรปิฏก คำว่า "รู้" เต็มไปหมด หลวงพ่อสด ต้องกล่าว “เห็น”นะ ไม่ใช่กล่าว “รู้” พอเข้าใจข้อ 1 ผิด ข้อ 2 เลยเข้าใจผิดด้วย นึกว่าเห็นได้

3. พระไตรปิฏก จิตมีราคะ โทสะ โมหะ... ก็รู้... เฝ้าพิจารณาเห็นจิตในจิต.... หลวงพ่อสด จิตของกายมนุษย์ละเอียด ที่ฝันออกไปนั้นเรียกว่า จิตในจิต

ถ้าอ่านภาษาไทยออก แบบไม่ลำเอียง คงเข้าใจนะว่า หลวงพ่อสอนบิดเบือนขนาดไหน
ถ้าจะอ้างว่าวิชาธรรมกายสูญหายไป ของที่สูญหายไปทำไมมันขัดแย้งกับที่ยังอยู่ทุกประโยคเลยล่ะ

นั่นเป็นเนื้อหากระทู้ของควายนรกภูมิธรรม ซึ่งเริ่มก็บิดเบือนเลย คือ มันไปเอา “จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน” ของใครมาก็ไม่รู้ 

ก่อนอื่นมาดู “จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน” ของพระไตรปิฎกกันก่อน (ตามภาพด้านบน)

ขอสรุป “จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน” อีกครั้งว่า ในการปฏิบัติธรรมจะต้องเป็นอย่างนี้

1) ในการปฏิบัตินั้น ต้อง “ตามเห็น” ด้วย  และ “รู้” ด้วย  [ตามเห็น = อนุปัสสนา]

2) ในการปฏิบัตินั้น ต้อง “ตามเห็น” ด้วย  และ “รู้” ด้วย ว่าจิตเป็นอย่างไรใน  9  ประการนี้

- จิตมีหรือไม่มี “ราคะ”, “โทสะ”, โมหะ
- จิต “หดหู่”, “ฟุ้งซ่าน” หรือไม่
- จิตเป็นหรือไม่เป็น “มหรคต, สมาธิ
- จิต “มีจิตอื่นยิ่งกว่า” หรือไม่
-  จิต “หลุดพ้น” หรือไม่

3) การ “ตามเห็น” ด้วย “รู้” ด้วย ต้อง ทั้งรู้ทั้งเห็นในกายของตัวเราเอง และในกายของคนอื่นด้วย

5) การ “ตามเห็น” ด้วย “รู้” ด้วยของจิตในจิตนั้น  คนปฏิบัติต้องทั้งรู้ทั้งเห็นใน
- ความเกิดขึ้น ในจิต
- ความเสื่อม ในจิต
- ทั้งความเกิดขึ้นและความเสื่อม ในจิต

ในการปฏิบัติธรรมสายวิชาธรรมกายนั้น ผมยืนยันว่า ทำอย่างที่ผมสรุปไว้ได้ทุกประการ ไม่ตกหล่น ถูกต้องตรงตามพระไตรปิฎก

ที่นี้มาดูความจังไรของควายนรกภูมิธรรม  มันไม่เคยบอกว่า “จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน” ของมันเป็นอย่างไร 

และเป็นความโง่สุดๆ ของมันที่มาเล่นเรื่องนี้ เพราะ พระพม่ากับสาวกส่วนใหญ่ไม่เคยแตะเรื่องนี้ เลย  เอาง่าย มหาโชดกไม่เคยกล่าวถึงเรื่องนี้เลย  อุบาสิกาแนบ ก็ไม่กล่าวถึงเลย  เพราะ ไม่รู้จะอธิบายอย่างไร

ไอ้ควายนรกภูมิธรรม มันมีปัญหาคิดที่ไหน  มันโง่แท้ๆ ที่เอาจุดอ่อนของมันมาเล่น



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น